สนามบินแห่งที่ 30 สนามบินบึงกาฬ ล่าสุด สนามบินบึงกาฬ 2565 สนามบินใกล้บึงกาฬ สนามบินภาคเหนือ สนามบินพาณิชย์ในประเทศไทย พื้นที่ สร้างสนามบินบึงกาฬ สนามบินในประเทศไทย 2565 แผนที่สนามบินบึงกาฬ
สนามบินแห่งที่ 30 กระทรวงคมนาคมโดยกรมท่าอากาศยาน (ทย.) กางแผนลงทุนในปี 2566 โดยจะผลักดันโครงการท่าสนามบินภูมิภาคที่อยู่ภายใต้การดูแลแห่งที่ 30 สนามบินบึงกาฬ ล่าสุด ซึ่งอยู่ระหว่างการศึกษาออกแบบผังแม่บททางวิ่ง ทางขับ ลานจอดเครื่องบิน และองค์ประกอบอื่นๆ ตลอดจนศึกษารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) รวมจำนวน 2 แห่ง ได้แก่ สนามบินยานมุกดาหาร และสนามบินบึงกาฬ
สนามบินบึงกาฬ ล่าสุด
สนามบินบึงกาฬ 2565โดยล่าสุดเมื่อวันที่ 21 ต.ค.ที่ผ่านมา ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ทำการเปิดประชุมรับฟังความคิดเห็นต่างเป็นครั้งที่ 2 งานจ้างดำเนินการออกแบบผังแม่บททางวิ่ง ทางขับ ลานจอดเครื่องบิน และองค์ประกอบอื่นๆ ตลอดจนศึกษารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) โครงการก่อสร้างท่าอากาศยานบึงกาฬ พร้อมทั้งตั้งเป้านำเสนอผลการศึกษาโครงการสนามบินบึงกาฬให้คณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณาอนุมัติภายในปี 2566 สนามบินใกล้บึงกาฬ เพื่อเริ่มตอกเสาเข็มตามแผนในปี 2569 ก่อนจะเปิดให้บริการในปี 2572
สำหรับจังหวัดบึงกาฬถือเป็นพื้นที่ที่อยู่ใกล้กับท่าอากาศยานใน 3 แห่ง ประกอบด้วย ท่าอากาศยานอุดรธานี ท่าอากาศยานนครพนม และท่าอากาศยานสกลนคร แต่โดยรวมต้องใช้เวลาเดินทางเพื่อไปใช้บริการท่าอากาศยานไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมง จึงเป็นอีกหนึ่งเหตุผลที่ ทย.เริ่มศึกษาความเหมาะสมในการพัฒนาท่าอากาศยานบึงกาฬ สนามบินภาคเหนือ เพื่อให้ตอบโจทย์ต่อความสะดวกในการเดินทางของประชาชน อีกทั้งเพื่อสนับสนุนการค้าชายแดน เนื่องจากจังหวัดบึงกาฬอยู่ติดกับแขวงบอลิคำไซ สปป.ลาว หรือพื้นที่ลาวใต้
สนามบินบึงกาฬ 2565
สนามบินพาณิชย์ในประเทศไทย รายงานข่าวจากเจ้าที่ที่รับผิดชอบโครงการ ระบุว่า ท่าอากาศยานบึงกาฬถือเป็นอีกหนึ่งโครงการที่กระทรวงคมนาคม ให้ความสำคัญ เพราะเป็นโครงการลงทุนที่จะส่งเสริมพื้นที่เศรษฐกิจ สนับสนุนการค้าชายแดน ส่งเสริมระเบียงเศรษฐกิจแนวตะวันออก – ตะวันตก (East – West Economic Corridor) แม้ว่าโดยรอบจังหวัดบึงกาฬจะมีท่าอากาศยานในจังหวัดใกล้เคียงอยู่แล้ว แต่ภาพรวมก็มีระยะห่างเกิน 200 กิโลเมตร จึงเข้าข่ายในการขออนุญาตก่อสร้างท่าอากาศยานแห่งใหม่
สำหรับ สนามบินบึงกาฬ จากผลการศึกษาเบื้องต้นจะใช้งบประมาณก่อสร้างประมาณ 3,152 ล้านบาท ประกอบด้วย พื้นที่ สร้างสนามบินบึงกาฬ
โดยที่ตั้งของสนามบินแห่งที่ 30 อยู่ในตำบลวิศิษฐ์ และตำบลโป่งเปือย อำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ ประมาณ 4,400 ไร่ ตั้งอยู่ระหว่างทางหลวงชนบทหมายเลข บก.3013 และทางหลวงเชื่อมโยง จังหวัดอุดรธานี-บึงกาฬ (ในอนาคต) มีระยะทางสนามบินในประเทศไทย 2565 ห่างจากตัวเมืองบึงกาฬ และสะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 5 (อยู่ระหว่างก่อสร้าง) ห่างจากที่ตั้งท่าอากาศยานบึงกาฬ ประมาณ 12 กิโลเมตร
สนามบินในประเทศไทย 2565
ทั้งนี้ ทย.ยังคาดการณ์ปริมาณผู้โดยสารและปริมาณเที่ยวบิน โดยประเมินว่าในปี 2572 หรือปีแรกของการเปิดให้บริการ จะมีจำนวนผู้โดยสาร 149,172 คนต่อปี และมีจำนวนเที่ยวบิน 1,244 เที่ยวบินต่อปี หลังจากนั้นจะเพิ่มขึ้นต่อเนื่องแผนที่สนามบินบึงกาฬ โดยในปี 2602 คาดการณ์ปริมาณผู้โดยสารสูงสุด 494,254 คนต่อปี และมีจำนวนเที่ยวบิน 4,120 เที่ยวบิน ของ สนามบินแห่งที่ 30
ขอบคุณต้นข่าว bangkokbiznews.com