ห่วง EEC สันติ กีระนันทน์ แนะ รัฐบาลเมินทำไทยเสียโอกาส 3 ปี

EEC แนะผู้ประกอบกับประสบการณ์ที่ได้เคยทำงานในฐานะผู้ช่วยรัฐมนตรี ประจำกระทรวงอุตสาหกรรม ยุคที่เริ่มต้นของ eec คืออะไร และช่วงที่เป็นเลขานุการ คณะกรรมาธิการ การเงิน การคลัง สถาบันการเงิน และตลาดการเงิน สภาผู้แทนราษฎร ซึ่งได้ให้ความสนใจเรื่อง EEC โดยทำการศึกษา และได้เชิญผู้บริหารของ EEC มาให้ข้อมูลอยู่หลายครั้งอันที่จริง ก็ต้องแสดงความดีใจที่มีแนวคิดเขตธุรกิจใหม่เกิดขึ้น

แสดงถึงการเห็นคุณประโยชน์ของการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศไทยอย่างจริงจัง ดังที่ผมได้พยายามนำเสนอมาโดยตลอดหลายปีนี้ แต่รัฐบาลปัจจุบันก็คงจะไม่ค่อยเข้าใจความจำเป็น จึงไม่ได้ให้ความสนใจเรื่องดังกล่าวอย่างไรก็ดี

eec คืออะไร

EEC คืออะไร

ความเข้าใจคลาดเคลื่อนว่า eec ภาคตะวันออก ยังไม่ตอบโจทย์หลายประการนั้น เช่น เน้นเฉพาะการให้แรงจูงใจด้วยการเสนอสิทธิประโยชน์ให้ผู้ลงทุนเท่านั้น ไม่มีการแก้ไขกฎหมายที่เป็นอุปสรรค หรือนำเสนอชุดกฎหมายใหม่เพื่ออำนวยความสะดวกให้เกิดเขตธุรกิจใหม่ได้จริง

หรือประเด็นที่คลาดเคลื่อนว่า EEC จะให้การสนับสนุนเฉพาะทุนขนาดใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากนักลงทุนต่างชาติเท่านั้น รวมไปถึงความเข้าใจที่ว่า EEC นั้น ไม่ได้คำนึงถึงความครบถ้วนครบวงจรในระบบนิเวศ (ecosystem) ที่เอื้ออำนวยความสะดวกให้เกิดเขตธุรกิจแบบใหม่ ยิ่งไปกว่านั้น ยังมีความเข้าใจว่า eec มีกี่จังหวัด จะให้การสนับสนุนเฉพาะอุตสาหกรรมเชิงลึกเพื่อเป้าหมายที่มีการ hard code ไว้ในพระราชบัญญัติเท่านั้น และความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนอีกบางประการ

ความแตกต่างของ EEC-D

ประเด็นนี้ทำให้ eec ชื่อเต็ม มีความแตกต่างจาก Eastern Seaboard อย่างมากมายครับ

ยิ่งไปกว่านั้น EEC ไม่ได้สนับสนุนเฉพาะทุนใหญ่เท่านั้น ดังจะเห็นได้ว่า EEC มีการกำหนดเขตย่อยเป็น EEC-D (digital economy), EEC-I (innovation) เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง EEC-I นั้น มุ่งเน้นให้เกิดรัฐวิสาหกิจเริ่มต้น หรือ startup ขึ้นในพื้นที่ ดังตัวอย่างที่ ปตท. ได้มีการลงทุนสร้าง วังจันทร์ valley เพื่อให้เกิด ecosystem คล้ายๆ กับ Silicon Valley ใน California ซึ่งแน่นอนว่า คงจะไม่ใช่ทุนขนาดใหญ่ (ในตอนเริ่มต้น) และแม้กระทั่งความพยายามส่งเสริมให้เกิด fruit corridor เพื่อสนับสนุนเกษตรกรรายย่อยในพื้นที่ให้เกิดการใช้เทคโนโลยีทางการเกษตร เพื่อเพิ่มมูลค่า และเพิ่มคุณภาพชีวิตของเกษตรกร เป็นต้น 

eec ภาคตะวันออก

EEC ภาคตะวันออก

eec เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก pdf  ไม่ได้ตั้งใจจะส่งเสริมเฉพาะการลงทุนที่เป็นจากทุนต่างประเทศเท่านั้น ดังจะเห็นได้จากมาตรา 7 (2) ที่เขียนไว้ชัดว่าให้การสนับสนุนทั้งผู้ประกอบกิจการทั้งในประเทศและต่างประเทศเข้ามาร่วมใช้พื้นที่ และการกำหนดทิศทางอุตสาหกรรมนั้นนั้นๆ ไม่ได้จำกัดเฉพาะที่เขียนลงในพระราชบัญญัติเท่านั้น แต่ให้อำนาจคณะกรรมการนโยบายต่างๆเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก สามารถกำหนดทิศทางเพิ่มเติม หรือเปลี่ยนแปลงได้ด้วย

EEC มีกี่จังหวัด

 หากอ่านให้ดีๆ ก็จะเห็นด้วยว่า ไม่ได้เน้นเฉพาะการพัฒนาในเศรฐกิจอุตสาหกรรมเท่านั้น แต่ต้องการให้เกิดการร่วมมือและพัฒนาให้เป็น smart city หรือเมืองที่อัจฉริยะไปพร้อมๆกัน ซึ่งรวมไปถึงการพัฒนาอย่างครบวงจร ไม่ได้จำกัดเพียงการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่าง Eastern Seaboard ที่เป็นเครื่องยนต์สำคัญในการพัฒนาประเทศไทยให้พวกเราได้ลืมตาอ้าปากมาได้ และเมื่อมาขยายการพัฒนาให้ครบวงจรมากขึ้นอย่างแนวคิด EEC แล้ว หากรัฐบาลปัจจุบันเข้าใจแนวคิด และดำเนินการอย่างจริงจัง จะสร้างคุณประโยชน์ให้ประเทศมากเพียงใด  แค่หลับตาก็คงพอนึกออกแล้วครับ เห็นไหมครับว่า แนวคิดของ Eastern Economic Corridor (EEC) นั้นไม่ได้ถูกจำกัดอย่างที่มีความเข้าใจคลาดเคลื่อน 

12 อุตสาหกรรมเป้าหมาย eec

12 อุตสาหกรรมเป้าหมาย EEC

เป็นสิ่งที่ดีครับที่มีความตั้งใจให้เกิดการพัฒนาเขตธุรกิจใหม่ ซึ่งอันที่จริงแล้ว ต้นแบบที่เกิดขึ้นแล้วก็คือ eec พัฒนาอะไรบ้าง อย่างไรก็ดี การดำเนินการตามพระราชบัญญัติดังกล่าวนั้น อาจจะมีข้อจำกัดอยู่บ้าง ก็คือกำหนดไว้เฉพาะเพียงภาคตะวันออก 3 จังหวัดเท่านั้น ได้แก่ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง แต่อย่างไรก็ดี คณะกรรมการนโยบาย อาจจะกำหนดเพิ่มเติมได้ แต่หากให้เกิดความคล่องตัวมากกว่าเดิม อาจจะต้องใช้แนวคิดตามพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว ขยายวงให้เกิดเขตพัฒนาพิเศษในภาคอื่นๆ ได้ โดยอาจจะใช้ EEC เป็นต้นแบบ ซึ่งกฎหมายแก้พระราชบัญญัติก็ไม่ได้ยุ่งยากจนเกินไป ขอย้อนกลับมาแสดงความเสียดายอีกครั้งว่า รัฐบาลปัจจุบันคงไม่เข้าใจความสำคัญของแนวคิด EEC และไม่ได้สนับสนุน ผลักดัน ให้เกิดผลอย่างจริงจัง ซึ่งจะทำให้ประชาชนประเทศไทยเสียโอกาสจาก EEC ไปอย่างน่าเสียดาย อย่างน้อยก็ประมาณ 3 ปีหลังจากนี้

 

ขอบคุณข่าวต้นทางจาก  bangkokbiznews.com